สารบัญ
คำนำ หน้า
สารบัญ
ส่วนที่ 1 บทนำ
1. หลักการและเหตุผล
2. วัตถุประสงค์
ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านผลประโยชน์ทับซ้อน
1. การวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านผลประโยชน์ทับซ้อน (Risk Assessment for Conflict of Interest)
2. การวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านผลประโยชน์ทับซ้อน
(Risk Assessment for Conflict of Interest) โรงเรียนบ้านหินลาดวังตอ
บทนำ
1. หลักการและเหตุผล
การมีผลประโยชน์ทับช้อนถือเป็นการทุจริตคอร์รัปชั่นประเภทหนึ่ง เพราะเป็นการแสวงหาผลประโยชน์ ส่วนบุคคล โดยการละเมิดต่อกฎหมายหรือจริยธรรมด้วยการใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่ ไปแทรกแซงการใช้ดุลย พินิจในกระบวนการตัดสินใจของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ให้เกิดการละทิ้งคุณธรรมในการปฏิบัติ ทำให้เจ้าหน้าที่ สาธารณะขาดความเป็นอิสระ ความเป็นกลาง และความเป็นธรรม จนส่งผลกระทบต่อประโยชน์สาธารณะของ ส่วนรวม และทำให้ผลประโยชน์หลักขององค์กร หน่วยงาน สถาบันและสังคมต้องสูญเสียไป โดยผลประโยชน์ที่ สูญเสียไปอาจอยู่ในรูปของผลประโยชน์ทางการเงิน คุณภาพการให้บริการ ความเป็นธรรมในสังคมรวมถึงคุณค่า อื่น ๆ ตลอดจนโอกาสในอนาคตตั้งแต่ระดับองค์กรจนถึงระดับสังคม อย่างไรกิตามอย่าทำมกลางผู้ที่จงใจกระทำ ความผิด ยังพบผู้กระทำความผิดโดยไม่เจตนาหรือไม่มีความรูในเรื่องดังกล่าวอีกเป็นจำนวนมาก จนน่าไปสู่การถูก กล่าวหาร้องเรียนเรื่องทุจริตหรือถูกลงโทษทางอาญา ผลประโยชน์ทับช้อน หรือความขัดแย้งกันระหว่าง ผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม Conflict of interest ะ COI) เป็นประเด็นป้ญหาทางการ บริหารภาครัฐในป้จจุบันที่เป็นบ่อเกิดของปิญหาการทุจริตประพฤติมิชอบในระดับที่รุนแรงขึ้น และยังสะท้อน ป้ญหาการขาดหลักธรรมากิบาลและเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ อีกด้วย
โรงเรียนบ้านบ้านเอราวัณ ดำเนินการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบตงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ ทับช้อน โดยวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับช้อนตาม มาตรฐาน COSO (The Committee of Sponsoring Organizations of the Tread way Commission) เป็นกรอบารวิ เคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับช้อน การวิเคราะห์ความเสี่ยงหมายถึง กระบวนการวิเคราะห์ความเสี่ยง ที่เป็นระบบในการบริหารปิจจัยและควบคุมกระบวนการปฏิบัติงานเพื่อลดมูลเหตุของโอกาสที่จะทำให้เกิดความ เสียหายจากการปฏิบตงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับช้อน
ประเภทของความเสี่ยงแบ่งออกเป็น 4 ด้านดังนี้
1. ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์(Strategic Risk: ร) หมายถึง ความเสี่ยงเกี่ยวกับการบรรลุ เป้าหมาย และพันธกิจในภาพรวมที่เกิดจากเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์และเหตุการณ์ภายนอกที่ส่งผลต่อกลยุทธ์ที่กำหนด ไร้และการปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์ไม่เหมาะสมรวมถึงความไม่สอดคล้องกันระหว่างนโยบาย เป้าหมายกลยุทธ์ โครงสร้างองค์กรภาวการณ์แข่งขันทรัพยากรและสภาพแวดล้อมอันส่งผลกระทบต่อวัตถุประสงค์หรือเป้าหมาย ขององค์กร
2. ความเสี่ยงด้านการดเนินงาน Operational^ Risk: 0) เกี่ยวช้องกับประสิทธิภาพ ประสิทธิผล หรือผลการปฏิบัติงานโดยความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นเป็นความเสี่ยงเนื่องจากระบบงานภายในขององค์กร/ กระบวนการ เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมที่ใช้/บุคลากร/ความเพียงพอของข้อมูลประสิทธิภาพประสิทธิผลในการ ดำเนินโครงการ
3. ความเสี่ยงด้านการเงิน Financial Risk: F) เป็นความเสี่ยงเกี่ยวกับการบริหารงบประมาณ และ การเงิน เช่น การบริหารเงินที่ไม่ถูกต้องไม่เหมาะสมทำให้ขาดประสิทธิภาพและไม่ทันต่อสถานการณ์หรือเป็น ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการเงินขององค์การเช่นการประมาณการงบประมาณไม่เพียงพอ และไม่สอดคล้องกับ ขั้นตอนการดำเนินการเป็นด้น เนื่องจากขาดการจัดหาข้อมูลการวิเคราะห์การวาง แผนการควบคุมและการจัด ทรายงาน เพื่อนำมาใข้ในการบริหารงบประมาณและการเงินดังกล่าว
4. ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ Compliance Risk: C) เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ ตามกฎระเบียบต่างๆโดยความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นเป็นความเสี่ยงเนื่องจากความไม่ซัดเจนความไม่ทันสมัยหรือความ ไม่ครอบคลุมของกฎหมายกฎระเบียบข้อบังคับต่างๆรวมถึงการทำนิติกรรม สัญญาการร่างสัญญาที่ไม่ครอบคลุม
การดเนินงานสาเหตุของการเกิดความเสี่ยงอาจเกิดจากปัจจัยหลัก 2 ปัจจัยคือ
1) ปัจจัยภายใน เช่น นโยบายของผู้บริหารความซื่อสัตย์จริยธรรมคุณภาพของบุคลากรและ การ เปลี่ยนแปลงระบบงานความเชื่อถือได้ของระบบสารสนเทศการเปลี่ยนแปลงผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ บ่อยครั้ง การควบคุมกำกับดูแลไม่ทั่วถึงและการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายระเบียบหรือข้อบังคับของหน่วยงาน เป็นด้น
2) ปัจจัยภายนอก เช่น กฎหมายระเบียบข้อบังคับของทางราชการการเปลี่ยนแปลงทาง เทคโนโลยีหรือสภาพการแข่งขันสภาวะแวดล้อมทั้งทางเศรษฐกิจและการเมืองเป็นด้น
ผลประโยชน์ทับซ้อนหมายถึง สภาวการณ์หรือข้อเท็จจริงที่บุคคลไม่ว่าจะเป็นนักการเมือง ข้าราชการ พนักงานบริษัทหรือผู้บริหารซึ่งมือนาจหน้าที่เจ้าที่ของรัฐปฏิบีตหน้าที่ในตำแหน่งหน้าที่ ที่บุคคลนั้นรับผิดขอบอยู่ และส่งผลกระทบต่อประโยชน์ส่วนรวมซึ่งการกระทำนั้นอาจจะเกิดขึ้นอย่างรู้ตัว หรือไม่รู้ตัวทั้งเจตนาและไม่ เจตนาและมืรูปแบบที่หลากหลายไม่จวกัดอยู่ในรูปของตัวเงินหรือทรัพย์สินเท่านั้น แต่รวมถึงผลประโยชน์อื่นๆที่ ไม่ใช่ในรูปตัวเงินหรือทรัพย์สินกิได้ อาทิ เช่น การแต่งตั้งพรรคพวกเข้าไปดำรงตำแหน่งงานในองค์กรต่างๆทั้งใน หน่วยงานราชการรัฐวิสาหกิจและบริษัทจดหรือการที่บุคคลผู้มีอำนาจหน้าที่ตัดสินใจ ให้ญาติพี่น้องหรือบริษัทที่ตน มีส่วนได้ส่วนเสียได้รับสัมปทานหรือผลประโยชน์จากทางราชการโดยมิขอบ ส่งผลให้บุคคลนั้นขาดการตัดสินใจที่ เที่ยงธรรมเนื่องจากยึดผลประโยชน์ส่วนตนเป็นหลักผลเสียจึงเกิดขึ้นกับ ประเทศชาติการกระทำแบบนี้เป็นการ กระทำที่ผิดทางจริยธรรมและจรรยาบรรณ
การวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนจึงหมายถึง กระบวนการวิเคราะห์ ความเสี่ยงที่ เป็นระบบในการหาปัจจัยและควบคุมกระบวนการปฏิบัติงาน เพื่อลดมูลเหตุของโอกาสบริหารที่จะทำให้เกิด ความเสียหายจากการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน หรือความซัดแย้งระหว่าง ผลประโยชน์ส่วนตน และผลประโยชน์ส่วนรวมเป็นสำคัญ อันเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยงอย่างใกล้ชิดกับการทุจริต กล่าวคือ ยิ่งมืสถานการณ์ หรือสภาวการณ์ของการขัดกันของผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมมากเท่าใด ก็ยิ่งมีโอกาส ก่อให้เกิดหรือนำไปสู่การทุจริตมากเท่านั้น การวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนในครั้งนั้นเอา ความเสี่ยงในด้านต่างๆมาดำเนินการวิเคราะห์ตามกรอบมาตรฐาน COSO (The Committee of Sponsoring Organizations of the Tread way Commission) และตามบริบท ความเสียงด้าน ผลประโยชน์ทับซ้อนของโรงเรียนบ้านหินลาดวังตอ
การวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนนี้จะช่วยให้โรงเรียนบ้านหินลาดวังตอทราบถึงความ เสี่ยงด้านผลประโยชน์ทับซ้อนที่เกิดขึ้นและปัจจัยเสี่ยงที่อาจเป็นเหตุให้กำหนด
1. การปฏิบัติราชการตามอำนาจหน้าที่ของข้าราชการเป็นไปในลักษณะที่ขาดหรือมีความรับผิดชอบ
ไม่เพียงพอ
2. การปฏิบัติหน้าที่ไปในทางที่ทำให้ประชาชนขาดความเชื่อถือในความมีคุณธรรมความมีจริยธรรม
3. การปฏิบัติหน้าที่โดยการขาดการคำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน และการ ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาลพร้อมกันนี้ ยังสามารถกำหนดมาตรการแนวทางการป้องกัน ยับยั้งการทุจริต ปิด โอกาสการทุจริต และเพื่อกำหนดมาตรการหรือแนวทางการป้องกันและแก้ไขป้ญหาการทุจริต ประพฤติมิชอบ การกระทำผิดวินัยของเจ้าหน้าที่ระบุปัญหาสำคัญและพบบ่อยอีกด้วย
วัตถุประสงค์
1. เพื่อสืบทอดวัฒนธรรมสุจริตและแสดงเจตจนงสุจริตในการบริหารราชการให้เกิดความคิด แยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม
2. เพื่อแสดงความมุ่งมั่นในการบริหารราชการโดยใช้หลักธรรมาภิบาล
3. เพื่อตรวจสอบการบริหารงานและการปฏิบตราชการของเจ้าหน้าที่รัฐไม่ให้เกิดการแสวงหา ผลประโยชน์ส่วนตัว ในตำแหน่งหน้าที่อันมิควรได้โดยชอบตามกฎหมายให้ยึดมั่นในคุณธรรมจริยธรรมเป็น แบบอย่างที่ดียืนหยัดทในสิ่งที่ถูกต้องเป็นธรรมถูกกฎหมายโปร่งใสและตรวจสอบได้
4. เพื่อสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาต่อการบริหารราชการแผ่นดินแก่ผู้รันบริการผู้มีส่วนสู่ประชาชน
การวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านผลประโยชน์ทับซ้อน
1. การวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านผลประโยชน์ทับซ้อน (Risk Assessment for Conflict of Interest) การวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านผลประโยชน์ทับซ้อน เปีนการวิเคราะห์ระดับโอกาสที่จะเกิดผลกระทบ ของความเสี่ยง ต่างๆ เพื่อประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยง และดำเนินการวิเคราะห์ และจัดลำดับความเสี่ยงโดย กำหนดเกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ที่จะใซ้ในการประเมินความเสี่ยงด้านผลประโยชน์ทับซ้อน ได้แก่ระดับ โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง Likelihood และความรุนแรงของผลกระทบ Impact และระดับความเสี่ยง ทั้งนี้ กำหนดเกณฑ์ในเซิงคุณภาพเนื่องจากเปีนข้อมูลเซิงพรรณา ที่ไม่สามารถระบุเปีนตัวเลขหรือจำนวนเงินที่ซัดเจนได้ เกณฑ์ระดับโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง Likelihood เซิงคุณภาพ
2. การวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านผลประโยชน์ทับซ้อน Risk Assessment ( for Conflict of Interest) โรงเรียนบ้านหินลาดวังตอ
โรงเรียนบ้านหินลาดวังตอมีการดำเนินการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ ทับซ้อน ดังนี้
1) การพิจารณากระบวนงานที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการทุจริตหรือที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน กระบวนงานที่เกี่ยวข้องกับการใช้เงินและมีซ่องทางที่จะทำประโยชน์ให้แก่ตนเองและพวกพ้อง กระบวนงานที่ เกี่ยวข้องกับการใช้ดุลยพินิจของบุคลากรซึ่งมีโอกาสใข้อย่างไม่ เหมาะสมคือมีการเอื้อประโยชน์หรือให้ความ ช่วยเหลือพวกพ้องการกีดกันการสร้างอุปสรรค กระบวนงานที่มีซ่องทางเรียกร้องหรือรับผลประโยชน์จากผู้ที่มี
ส่วนเกี่ยวข้องส่งผลทางลบต่อผู้อื่นที่เกี่ยวข้อง
2) โดยมีกระบวนงานที่เข้าข่ายมีโอกาสเสี่ยงต่อการทุจริตหรือที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับ
- การรับ- จ่ายเงิน
- การบันทึกบัญชีรับ-จ่าย / การจัดทบัญชีทางการเงิน
- การจัดซื้อจัดจ้างและการจ้างบริการ
- การกำหนดคุณลักษณะวัสดุครุภัณฑ์การกหนดคุณสมบ้ตผู้ที่จะเข้าประมูล
- การตรวจรับวัสดุครุภัณฑ์
- การปฏิบ้ตงานของบุคลากรที่ไม่เปีนไปตามขั้นตอนและระเบียบการจัดซื้อ
จดจาง
- การดัดเลือกบุคคลเข้ารับราชการ
- การจัดหาพัสดุ
- การจัดทำโครงการผึเกอบรมศึกษาดูงานประชุมและสัมมนา
- การเบิกค่าตอบแทน